การประชุม ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อใหัความเห็นต่อ (ร่าง) ผลการศึกษา ชุดโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้ฐานข้อมูลเฝ้าระวังผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชนในการสื่อสารความเสี่ยง เพื่อปกป้องกลุ่มเปราะบางจากมลพิษข้ามแดน กรณี โรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา สปป.ลาว (ระยะที่ 2)
กำหนดการประชุม ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อใหัความเห็นต่อ (ร่าง) ผลการศึกษา
ชุดโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้ฐานข้อมูลเฝ้าระวังผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน
ในการสื่อสารความเสี่ยง เพื่อปกป้องกลุ่มเปราะบางจากมลพิษข้ามแดน
กรณี โรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา สปป.ลาว (ระยะที่ 2)
วันศุกร์ที่ 11 เมษายน 2568 เวลา 10.00 – 15.00 น.
ณ ห้องประชุมสัมมนา 3 อาคาร D ชั้น 3 สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
09.00 – 09.30 น. ลงทะเบียน
09.30 – 09.40 น. ประธานเปิดการประชุม
09.40 – 10.00 น. นำเสนอภาพรวมการดำเนินงาน โดย นางสาวสมพร เพ็งค่ำ หัวหน้าชุดโครงการวิจัยฯ
10.00 – 10.30 น. การสาธิตการใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการภาคประชาชนเพื่อจัดการ
ความเสี่ยงของประชาชนกลุ่มเปราะบางจังหวัดน่าน จากการตกสะสมของก๊าซกรดและปรอทข้ามพรมแดน
จากโรงไฟฟ้าถ่านหิน
โดย รศ.ดร.ธนพล เพ็ญรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
10.30 – 11.00 น. การพัฒนาแนวทางการปรับตัวของเกษตรกรกลุ่มเปราะบางที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษข้ามแดน
โดย ดร.มนทกานต์ ฉิมมามี สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผศ.ดร.ธัญศิภรณ์ ณ น่าน สำนักวิชาทรัพยากรการเกษตร จุฬาลงกรณ์ฯ
ผศ.ดร.สุกัญญา มีสกุลทอง คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
11.00 – 11.30 น. การติดตามตรวจสอบมลพิษทางอากาศในฝุ่นพีเอ็ม 2.5 และหาปริมาณตัวบ่งชี้ต่อการรับสัมผัสสารก่อมะเร็ง
เพื่อการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังเสี่ยงต่อสุขภาพในพื้นที่อำเภอทุ่งช้างและอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่านโดย ผศ.ดร.ว่าน วิริยา คณะวิทยาศาสตร์ ม.เชียงใหม่
ผศ.ดร.วรางคณา นาคเสน คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.เชียงใหม่
11.30 – 12.00 น. การสร้าง Health Literacy ให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
และ ชุมชนในการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อการรับสัมผัสมลพิษจากปรอท
โดย ผศ.ดร.ยุพาภรณ์ ติรไพรวงศ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี
ดร.สุภาพร วรรณสันทัด คณะพยาบาลศาสตร์ ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 13.40 น. การพัฒนาประสิทธิภาพและขยายผลการใช้แพลตฟอร์มดิจิทัล C-site และวิทยาศาสตร์ภาคพลเมือง
เพื่อการเฝ้าระวังผลกระทบทางสุขภาพและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชน : กรณีมลพิษข้ามพรมแดนจาก
โรงไฟฟ้าถ่านหินหงสาใน สปป.ลาว
โดย นายสมเกียรติ จันทรสีมา สำนักเครือข่ายและการมีส่วนร่วมสาธารณะ TPBS
นางสาวอ้อมจันทร์ วงศ์สดสาย สำนักเครือข่ายและการมีส่วนร่วมสาธารณะ TPBS
ดร.จารุภา พานิชภักดิ์ ห้องเรียนสุดขอบฟ้า
13.40 – 14.30 น. ผู้ทรงคุณวุฒิ ซักถาม อภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็นในภาพรวม
14.30 – 14.45 น. ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ โดย ทพ.จเร วิชาไทย ผู้จัดการแผนงานวิจัย สวรส.
14.45 – 15.00 น. สรุปและปิดการประชุม
หมายเหตุ
ในการนำเสนอของแต่ละทีมมีเวลา 30 นาที โดยแบ่งออกเป็น ผู้วิจัยนำเสนอ 15 นาที และ ผู้ทรงคุณวุฒิ ถาม - ตอบ 15 นาที
ยกเว้นของทีม Thai PBS นำเสนอ 20 นาที ถามตอบ 20 นาที
รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ความเห็นต่อ (ร่าง) ผลการศึกษา
ชุดโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาระบบประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน
กรณี มลพิษข้ามแดน จากโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา สปป.ลาว (ระยะที่ 2)
1. |
นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย |
สำนักวิชาการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข |
2. |
ศ.ดร.นพ.พรชัย สิทธิศรัณย์กุล |
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
3. |
พญ.รัชนีวรรณ สินิทธ์กุล |
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์รามาธิบดี ม.มหิดล |
4. |
ศ.ดร.ฉันทนา หวันแก้ว |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
5. |
รศ.ดร.อังศนา บุญธรรม |
คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล |
6. |
รศ.ดร.สมพร จันทร |
คณะวิทยาศาสตร์ ม.เชียงใหม่ |
7. |
คุณพิภพ พานิชภักดิ์ |
ห้องเรียนสุดขอบฟ้า |
8. |
คุณเพ็ญโฉม แซ่ตั้ง |
มูลนิธิบูรณะนิเวศ |
9. |
ผศ.ดร.พิภัทร เจียมพิริยะกุล |
ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคเหนือตอนบน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
10. |
ผศ.ดร.พิมสิริ ติยายน |
สำนักวิชาทรัพยากรการเกษตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |